messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา info_outline ข้อมูลการติดต่อ
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
place สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
info_outline วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงานวิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2561-2564 วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2560-2562 1.1 ที่ตั้งของตำบล ตำบลพะเนาเป็นตำบลหนึ่งใน 26 ตำบล ของอำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งแยกจากตำบลมะเริง และได้รับการประกาศจากกระทรวงมหาดไทย แยกเขตการปกครองเป็นตำบลพะเนา มีผลเมื่อ วันที่ 17 มกราคม 2536 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยตั้งชื่อตำบลตามชื่อหมู่บ้าน ซึ่งมีพื้นที่ของหมู่บ้าน ตั้งอยู่ศูนย์กลางของตำบล ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน และได้รับยกฐานะ จากสภาตำบลพะเนา เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตำบลพะเนา อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ไปทางทิศ ตะวันออก เป็นระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร มีเส้นทางการคมนาคมของตำบลหลัก 2 ทาง คือ - ทางรถไฟ ผ่านตอนกลางของตำบลในแนวตะวันออก – ตะวันตก เป็นเส้นทางสาย นครราชสีมา – อุบลราชธานี - ถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 226 (ถนนเพชรมาตุคลา) เป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุด ของตำบล ตัดผ่านหมู่บ้าน มีเขตพื้นที่ในการติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ้านโพธิ์ ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหนองระเวียง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลพระพุทธ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลมะเริง
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2561-2564

 

 

 

 

 

 

 

วิสัยทัศน์การพัฒนาองคืการบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2560-2562

 

 

 

 

 

 

 

1.1 ที่ตั้งของตำบล
ตำบลพะเนาเป็นตำบลหนึ่งใน 26 ตำบล ของอำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งแยกจากตำบลมะเริง 
และได้รับการประกาศจากกระทรวงมหาดไทย แยกเขตการปกครองเป็นตำบลพะเนา มีผลเมื่อ วันที่ 17 มกราคม 2536 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยตั้งชื่อตำบลตามชื่อหมู่บ้าน ซึ่งมีพื้นที่ของหมู่บ้าน ตั้งอยู่ศูนย์กลางของตำบล ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน และได้รับยกฐานะ จากสภาตำบลพะเนา เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 
ตำบลพะเนา อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ไปทางทิศ
ตะวันออก เป็นระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร มีเส้นทางการคมนาคมของตำบลหลัก 2 ทาง คือ 
- ทางรถไฟ ผ่านตอนกลางของตำบลในแนวตะวันออก – ตะวันตก เป็นเส้นทางสาย
นครราชสีมา – อุบลราชธานี 
- ถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 226 (ถนนเพชรมาตุคลา) เป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุด
ของตำบล ตัดผ่านหมู่บ้าน มีเขตพื้นที่ในการติดต่อดังนี้ 
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ้านโพธิ์
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหนองระเวียง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลพระพุทธ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลมะเริง

 

 

 

(เมื่อ: )
 

 

วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2561-2564 วิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2560-2562 1.1 ที่ตั้งของตำบล ตำบลพะเนาเป็นตำบลหนึ่งใน 26 ตำบล ของอำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งแยกจากตำบลมะเริง และได้รับการประกาศจากกระทรวงมหาดไทย แยกเขตการปกครองเป็นตำบลพะเนา มีผลเมื่อ วันที่ 17 มกราคม 2536 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยตั้งชื่อตำบลตามชื่อหมู่บ้าน ซึ่งมีพื้นที่ของหมู่บ้าน ตั้งอยู่ศูนย์กลางของตำบล ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน และได้รับยกฐานะ จากสภาตำบลพะเนา เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตำบลพะเนา อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ไปทางทิศ ตะวันออก เป็นระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร มีเส้นทางการคมนาคมของตำบลหลัก 2 ทาง คือ - ทางรถไฟ ผ่านตอนกลางของตำบลในแนวตะวันออก – ตะวันตก เป็นเส้นทางสาย นครราชสีมา – อุบลราชธานี - ถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 226 (ถนนเพชรมาตุคลา) เป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุด ของตำบล ตัดผ่านหมู่บ้าน มีเขตพื้นที่ในการติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ้านโพธิ์ ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหนองระเวียง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลพระพุทธ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลมะเริง
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2561-2564

 

 

 

 

 

 

 

วิสัยทัศน์การพัฒนาองคืการบริหารส่วนตำบลพะเนา พ.ศ.2560-2562

 

 

 

 

 

 

 

1.1 ที่ตั้งของตำบล
ตำบลพะเนาเป็นตำบลหนึ่งใน 26 ตำบล ของอำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งแยกจากตำบลมะเริง 
และได้รับการประกาศจากกระทรวงมหาดไทย แยกเขตการปกครองเป็นตำบลพะเนา มีผลเมื่อ วันที่ 17 มกราคม 2536 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยตั้งชื่อตำบลตามชื่อหมู่บ้าน ซึ่งมีพื้นที่ของหมู่บ้าน ตั้งอยู่ศูนย์กลางของตำบล ปัจจุบันแบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน และได้รับยกฐานะ จากสภาตำบลพะเนา เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 
ตำบลพะเนา อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ไปทางทิศ
ตะวันออก เป็นระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร มีเส้นทางการคมนาคมของตำบลหลัก 2 ทาง คือ 
- ทางรถไฟ ผ่านตอนกลางของตำบลในแนวตะวันออก – ตะวันตก เป็นเส้นทางสาย
นครราชสีมา – อุบลราชธานี 
- ถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 226 (ถนนเพชรมาตุคลา) เป็นเส้นทางที่สำคัญที่สุด
ของตำบล ตัดผ่านหมู่บ้าน มีเขตพื้นที่ในการติดต่อดังนี้ 
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลบ้านโพธิ์
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหนองระเวียง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลพระพุทธ
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลมะเริง

 

 

 

(เมื่อ: )
 

 

place ข้อมูลหน่วยงาน
ข้อมูลหน่วยงาน
place ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมาหมู่บ้านบ้านมะเริงน้อย หมู่ที่ 1 ประวัติความเป็นมา บ้านมะเริงน้อย เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2374 เดิมชื่อบ้านม้าเริงน้อย เนื่องจากมีม้าวิ่งผ่านมาแสดงอาการดีใจน้อย จึงตั้งชื่อตามอาการของม้า ต่อมาเรียกเพี้ยนจากม้าเริงน้อย เป็นมะเริงน้อย จนถึงปัจจุบัน คนกลุ่มแรกที่เดินทางมาอาศัยอยู่ คือ สี่พี่น้อง ได้แก่ นายหมูแดง คนที่สองชื่อ ทิศเชิด คนที่สามชื่อ ยอดโท และคนสุดท้ายชื่อ โพธิ์มะเริง เนื่องจากพื้นที่เดิมขาดแคลนอาหารและแห้งแล้ง เลยขี้ม้าเที่ยวล่าสัตว์มาเรื่อยๆ จึงมาพบพื้นที่แห่งใหม่ คือบริเวณที่ราบลุ่ม มีลำน้ำล้อมรอบอุดมสมบูรณ์ เพราะมีน้ำตลอดปี จึงได้อาศัยเป็นที่ตั้งบ้านเรือนและทำมาหากิน มีลูกหลาน จนถึงปัจจุบันนี้ มีผู้ใหญ่บ้าน ปกครองหมู่บ้าน ตั้งแต่คนแรก จนถึงปัจจุบัน ดังนี้ 1.นายเพียร กรมโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก 2.นายบุญ กรมโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 3.นายลบ แก้วพะเนา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 4.นายสงบ ไชยมะเริง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 5.นายบุญส่ง อ่อนชำนิ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 6.นายสมใจ ศรีสังบุญ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 7.นายอนันต์ ปานโตนด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 8.นายฉัตรชัย ภู่เกิดชายทะเล เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เดิมหมู่บ้านชื่อ บ้านม้าเริงน้อย เนื่องจากมีม้าวิ่งผ่านมาแสดงอาการดีใจน้อย จึงได้ตั้งชื่อตามอาการของม้า ต่อมาเรียกเพี้ยนจากม้าเริงน้อย เป็น บ้านมะเริงน้อย มาจนถึงปัจจุบัน บ้าน พุดซา ในสมัยโบราณ มีต้นพุดซาขึ้นอยู่มากมาย มากกว่าต้นไม้ชนิดอื่น ๆ จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านพุดซา” หมู่บ้านพุดซานี้เริ่มตั้งหมู่บ้านเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2345 บริเวณที่ตั้งหมู่บ้าน มีเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ ทางด้านทิศเหนือของหมู่บ้านจะเป็นลำตะคลอง และเป็นทุ่งนา ทางด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจะเป็นทุ่งนา หมู่บ้านอยู่ใจกลางเป็นเสมือนเกาะกลางทุ่ง หมู่บ้านอยู่ห่างจากตัวจังหวัดนครราชสีมา ประมาณ 10 กิโลเมตร และวัดร้างตั้งอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน ตั้งขึ้นประมาณ ปี 2325 และประมาณปี 2335 ตั้งวัดขึ้นใหม่ ชื่อ “วัดพุดซา” โดยมีเจ้าอาวาสชื่อ “หลวงพ่อเหล็ก” เป็นหลวงพ่อที่ศักดิ์สิทธิ์มาก หลังจากท่านได้มรณภาพลง ก็ได้มีพระองค์ใหม่ขึ้นมาเป็นเจ้าอาวาส มีชื่อว่า “หลวงพ่อปุ๊ก” หลวงพ่อท่านเป็นพระเกจิที่ศักดิ์สิทธิ์มาก ปัจจุบันท่านมรณภาพแล้ว ยังเหลือแต่ความดีและความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน ที่ชาวบ้านยังเคารพบูชาท่านอยู่เสมอ หมู่บ้านพุดซาสมัยก่อนมีตรอกอยู่กลางบ้านเป็นเส้นกลาง คือ ปากตรอกอยู่ทิศใต้ท้ายตรอกอยู่ทิศตะวันตกและทิศตะวันออก มีผู้นำหมู่บ้านครั้งแรก มีผู้ใหญ่บ้าน 2 คน คือ 1. นาย น้อย เป็นผู้ใหญ่บ้านปกครองทางทิศตะวันตกของตรอก 2. นาย ปาน กระจ่างโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านปกครองทางทิศตะวันออกของตรอก ผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้น ไม่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนเหมือนสมัยปัจจุบัน บ้านพุดซา แต่เดิมนั้น เป็นบ้านหมู่ที่ 4 ของตำบลมะเริง แต่ปัจจุบันได้แยกออกมาเป็น ตำบลพะเนา และเป็นบ้าน หมู่ที่ 2 ของตำบลพะเนา มีผู้ใหญ่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1. นาย เพชร ลังตัก 2. นาย คง กระจ่างโพธิ์ 3. นาย ซัน ไทยมณี 4. นาย ทองสุข กระจ่างโพธิ์ 5. นาย สมพงษ์ เอี่ยมเสือ 6. นาย ชิด เกิดชื่น 7. นายสัมพันธ์ ขุนแก้วพะเนา 8. นายสุริยา ศรีละวัฒน์ ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน บ้านหนองสายไพร หมู่ที่ 3 ประวัติความเป็นมา เดิมบริเวณแห่งนี้เป็นที่ลุ่ม อุดมสมบูรณ์ด้วยป่า หนองน้ำ 2 แห่ง ชาวบ้านที่มาอาศัยอยู่ในเขตบริเวณนั้นเรียกว่า หนองน้ำหม้อแตก และหนองน้ำบรรทูน และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่หลายชนิด เหมาะแก่การทำมาหากิน ทำนา ทำไร่ ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เดิมมีชื่อว่าบ้านหนองเสียแพง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2376 มีสองตายายได้นำช้างที่ตนนำมาเลี้ยงเป็นค่าไถ่ตัว หลังจากนั้นตายายจึงปักหลักทำมาหากินอยู่ในที่แห่งนี้ ต่อมาก็มีผู้อพยพมาอยู่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในระยะเริ่มก่อตั้งมีผู้อพยพมาอยู่ประมาณ 10 ครอบครัว ต่อมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการขยายครัวเรือนเพิ่มขึ้น และได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านหนองเสียแพง เป็น หมู่บ้านหนองสายไพร บ้านคอนอินทร์ หมู่ที่ 4 ประวัติความเป็นมา ชาวบ้านกลุ่มแรกที่เข้ามาก่อตั้งหมู่บ้านคอนอินทร์ คือ นายยง นายคำ และนายหลุ่น ชาวบ้านดั้งเดิมที่อาศัยในหมู่บ้าน เพียงแต่ข้ามถนนมาอยู่อีกด้านหนึ่งของหมู่บ้าน เหตุที่อพยพมาจากบ้านเดิมเพื่อต้องการขยายบ้านเรือนให้เพิ่มขึ้น ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เนื่องจากบริเวณหมู่บ้านมีต้นจันทร์อินทร์จำนวนมาก จึงได้เรียกว่าบ้านจันทร์อินทร์ ต่อมาเมื่อมีชาวบ้านมาอาศัยเพิ่มมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็น บ้านคอนอินทร์ จนถึงปัจจุบัน บ้านพะเนา หมู่ที่ 5-6 ประวัติความเป็นมา ตามประวัติของหมู่บ้านพะเนา หมู่ที่ 5 ตำบลพะเนา ที่ได้เล่าสืบต่อกันมา ตั้งแต่คนรุ่นก่อน ๆ มีชาวเขมรนำปลามาจากประเทศเขมร มาขายที่จังหวัดนครราชสีมา แล้วได้พักอยู่บริเวณนี้ และชาวเขมรเรียกบริเวณนี้ว่า “พะเน้า” เหตุที่เรียกว่า พะเน้า เพราะชาวเขมรขายปลาไม่หมด จึงเหลือปลากลับมาทำให้ปลาเน่าส่งกลิ่นเหม็น เลยเรียกแผลงว่า “พะเน้า” เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2300 หรือประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว คนกลุ่มแรก ที่เข้ามาก่อตั้งหมู่บ้าน สันนิษฐานว่าเป็นชาวเขมร สภาพหมู่บ้านในขณะนั้นเป็นป่ารกร้าง มีบ้านเรือนตั้งอยู่ประมาณ 10-20 หลังคาเรือน และต่อมามีชาวไทยอพยพมาอยู่รวมกัน และได้ตั้งเป็นหมู่บ้าน โดยเรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านพะเนา” มาจนทุกวันนี้ ซึ่งบ้านพะเนา เป็นบ้าน หมู่ที่ 5 ของ ตำบล พะเนา อ. เมือง จ. นครราชสีมา บ้านมะเริงใหญ่ หมู่ที่ 7 ในอดีตมีการเล่าขานสืบกันมาสมัยปู่ย่าตายาย ว่าตัวหมู่บ้านตั้งติดต่อกันไปทางทิศตะวันออกของตัวเมืองนครราชสีมา เป็นเส้นทางผ่านทางการค้าขายโดยมีล้อ-เกวียน เป็นพาหนะขนถ่ายสินค้าจากเรือกลไฟ ซึ่งแล่นมาตามแม่น้ำมูลขึ้นฝั่งที่บ้านท่าช้าง นำสินค้าต่าง ๆ จากต่างจังหวัดผ่านเข้าเมืองนครราชสีมา ส่งต่อไปยังกรุงเทพฯ สินค้าได้แก่ พวกไม้หอม ไม้จันทน์ หนังวัตถุงาช้าง-ครั่ง ชัน ผ้าไหม เป็นต้น โดยบรรทุกล้อเกวียนผ่านหมู่บ้านมะเริงใหญ่ เข้าเมืองนครราชสีมา ยังมีหลักฐานบางอย่างพอเล่าสู่กันฟังได้อีก คือในต้นฤดูฝนของทุกปีจะเห็นนายฮ้อย พ่อค้าควายไล่ต้อนฝูงควายจำนวนมากในแต่ละครั้ง เพื่อนำไปขายให้ชาวนาภาคกลาง แต่ปัจจุบันนี้จะไม่เห็นอีกแล้ว เพราะการคมนาคมสะดวกและไม่นิยมใช้ควายไถนา ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าหมู่บ้านมะเริงใหญ่เป็นทางผ่านการค้าขายสมัยก่อน ส่วนการตั้งชื่อหมู่บ้านไม่ปรากฏหลักฐานที่มาของชื่อหมู่บ้านแต่อย่างใด การเริ่มก่อตั้งหมู่บ้าน เริ่มประมาณ 200 ปีมาแล้ว ซึ่งคนกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งเป็นหมู่บ้านก็เป็นกลุ่มคนเกี่ยวกับที่ก่อตั้งจังหวัดนครราชสีมา แต่มีการขยายเขตการปกครองและขยายถิ่นที่อยู่ ปัจจุบัน บ้านมะเริงใหญ่ เป็นบ้านหมู่ที่ 7 ตำบลพะเนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
2.ด้านการเมือง/การปกครองมีหมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา ทั้งหมด 9 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านมะเริงน้อย ผู้ปกครอง นายฉัตรชัย ภู่เกิดชายทะเล ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านพุดซา ผู้ปกครอง นายสุริยา ศรีละวัฒน์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านหนองสายไพร ผู้ปกครอง นายกิตติคุณ เกิดชื่น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านคอนอินทร์ ผู้ปกครอง นายร่วม งามอภัย ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านพะเนา ผู้ปกครอง นายเชาวลิต คำทองพะเนา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านพะเนา ผู้ปกครอง นายเสนอ สนมะเริง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านมะเริงใหญ่ ผู้ปกครอง นายชาตรี เกียรติธนบดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านยองแยง ผู้ปกครอง นายยงยุทธ ละม่อมเมือง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านใหม่ยองแยง ผู้ปกครอง นายสมัคร ศรีชุ่ม กำนันตำบลพะเนา
สนามกีฬาโรงเรียนบ้านพะเนารอปรับปรุง
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนารอปรับปรุง
หมู่ที่ 9 บ้านใหม่ยองแยงรอปรับปรุง
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติความเป็นมาหมู่บ้าน

บ้านมะเริงน้อย หมู่ที่ 1 ประวัติความเป็นมา บ้านมะเริงน้อย เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2374 เดิมชื่อบ้านม้าเริงน้อย เนื่องจากมีม้าวิ่งผ่านมาแสดงอาการดีใจน้อย จึงตั้งชื่อตามอาการของม้า ต่อมาเรียกเพี้ยนจากม้าเริงน้อย เป็นมะเริงน้อย จนถึงปัจจุบัน คนกลุ่มแรกที่เดินทางมาอาศัยอยู่ คือ สี่พี่น้อง ได้แก่ นายหมูแดง คนที่สองชื่อ ทิศเชิด คนที่สามชื่อ ยอดโท และคนสุดท้ายชื่อ โพธิ์มะเริง เนื่องจากพื้นที่เดิมขาดแคลนอาหารและแห้งแล้ง เลยขี้ม้าเที่ยวล่าสัตว์มาเรื่อยๆ จึงมาพบพื้นที่แห่งใหม่ คือบริเวณที่ราบลุ่ม มีลำน้ำล้อมรอบอุดมสมบูรณ์ เพราะมีน้ำตลอดปี จึงได้อาศัยเป็นที่ตั้งบ้านเรือนและทำมาหากิน มีลูกหลาน จนถึงปัจจุบันนี้ มีผู้ใหญ่บ้าน ปกครองหมู่บ้าน ตั้งแต่คนแรก จนถึงปัจจุบัน ดังนี้ 1.นายเพียร กรมโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก 2.นายบุญ กรมโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 3.นายลบ แก้วพะเนา เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 4.นายสงบ ไชยมะเริง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 4 5.นายบุญส่ง อ่อนชำนิ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 5 6.นายสมใจ ศรีสังบุญ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 6 7.นายอนันต์ ปานโตนด เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 7 8.นายฉัตรชัย ภู่เกิดชายทะเล เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เดิมหมู่บ้านชื่อ บ้านม้าเริงน้อย เนื่องจากมีม้าวิ่งผ่านมาแสดงอาการดีใจน้อย จึงได้ตั้งชื่อตามอาการของม้า ต่อมาเรียกเพี้ยนจากม้าเริงน้อย เป็น บ้านมะเริงน้อย มาจนถึงปัจจุบัน บ้าน พุดซา ในสมัยโบราณ มีต้นพุดซาขึ้นอยู่มากมาย มากกว่าต้นไม้ชนิดอื่น ๆ จึงตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านพุดซา” หมู่บ้านพุดซานี้เริ่มตั้งหมู่บ้านเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2345 บริเวณที่ตั้งหมู่บ้าน มีเนื้อที่ประมาณ 200 ไร่ ทางด้านทิศเหนือของหมู่บ้านจะเป็นลำตะคลอง และเป็นทุ่งนา ทางด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกจะเป็นทุ่งนา หมู่บ้านอยู่ใจกลางเป็นเสมือนเกาะกลางทุ่ง หมู่บ้านอยู่ห่างจากตัวจังหวัดนครราชสีมา ประมาณ 10 กิโลเมตร และวัดร้างตั้งอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน ตั้งขึ้นประมาณ ปี 2325 และประมาณปี 2335 ตั้งวัดขึ้นใหม่ ชื่อ “วัดพุดซา” โดยมีเจ้าอาวาสชื่อ “หลวงพ่อเหล็ก” เป็นหลวงพ่อที่ศักดิ์สิทธิ์มาก หลังจากท่านได้มรณภาพลง ก็ได้มีพระองค์ใหม่ขึ้นมาเป็นเจ้าอาวาส มีชื่อว่า “หลวงพ่อปุ๊ก” หลวงพ่อท่านเป็นพระเกจิที่ศักดิ์สิทธิ์มาก ปัจจุบันท่านมรณภาพแล้ว ยังเหลือแต่ความดีและความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน ที่ชาวบ้านยังเคารพบูชาท่านอยู่เสมอ หมู่บ้านพุดซาสมัยก่อนมีตรอกอยู่กลางบ้านเป็นเส้นกลาง คือ ปากตรอกอยู่ทิศใต้ท้ายตรอกอยู่ทิศตะวันตกและทิศตะวันออก มีผู้นำหมู่บ้านครั้งแรก มีผู้ใหญ่บ้าน 2 คน คือ 1. นาย น้อย เป็นผู้ใหญ่บ้านปกครองทางทิศตะวันตกของตรอก 2. นาย ปาน กระจ่างโพธิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านปกครองทางทิศตะวันออกของตรอก ผู้ใหญ่บ้านสมัยนั้น ไม่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนเหมือนสมัยปัจจุบัน บ้านพุดซา แต่เดิมนั้น เป็นบ้านหมู่ที่ 4 ของตำบลมะเริง แต่ปัจจุบันได้แยกออกมาเป็น ตำบลพะเนา และเป็นบ้าน หมู่ที่ 2 ของตำบลพะเนา มีผู้ใหญ่บ้าน เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1. นาย เพชร ลังตัก 2. นาย คง กระจ่างโพธิ์ 3. นาย ซัน ไทยมณี 4. นาย ทองสุข กระจ่างโพธิ์ 5. นาย สมพงษ์ เอี่ยมเสือ 6. นาย ชิด เกิดชื่น 7. นายสัมพันธ์ ขุนแก้วพะเนา 8. นายสุริยา ศรีละวัฒน์ ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน บ้านหนองสายไพร หมู่ที่ 3 ประวัติความเป็นมา เดิมบริเวณแห่งนี้เป็นที่ลุ่ม อุดมสมบูรณ์ด้วยป่า หนองน้ำ 2 แห่ง ชาวบ้านที่มาอาศัยอยู่ในเขตบริเวณนั้นเรียกว่า หนองน้ำหม้อแตก และหนองน้ำบรรทูน และมีสัตว์ป่าอาศัยอยู่หลายชนิด เหมาะแก่การทำมาหากิน ทำนา ทำไร่ ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เดิมมีชื่อว่าบ้านหนองเสียแพง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2376 มีสองตายายได้นำช้างที่ตนนำมาเลี้ยงเป็นค่าไถ่ตัว หลังจากนั้นตายายจึงปักหลักทำมาหากินอยู่ในที่แห่งนี้ ต่อมาก็มีผู้อพยพมาอยู่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในระยะเริ่มก่อตั้งมีผู้อพยพมาอยู่ประมาณ 10 ครอบครัว ต่อมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการขยายครัวเรือนเพิ่มขึ้น และได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านหนองเสียแพง เป็น หมู่บ้านหนองสายไพร บ้านคอนอินทร์ หมู่ที่ 4 ประวัติความเป็นมา ชาวบ้านกลุ่มแรกที่เข้ามาก่อตั้งหมู่บ้านคอนอินทร์ คือ นายยง นายคำ และนายหลุ่น ชาวบ้านดั้งเดิมที่อาศัยในหมู่บ้าน เพียงแต่ข้ามถนนมาอยู่อีกด้านหนึ่งของหมู่บ้าน เหตุที่อพยพมาจากบ้านเดิมเพื่อต้องการขยายบ้านเรือนให้เพิ่มขึ้น ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เนื่องจากบริเวณหมู่บ้านมีต้นจันทร์อินทร์จำนวนมาก จึงได้เรียกว่าบ้านจันทร์อินทร์ ต่อมาเมื่อมีชาวบ้านมาอาศัยเพิ่มมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็น บ้านคอนอินทร์ จนถึงปัจจุบัน บ้านพะเนา หมู่ที่ 5-6 ประวัติความเป็นมา ตามประวัติของหมู่บ้านพะเนา หมู่ที่ 5 ตำบลพะเนา ที่ได้เล่าสืบต่อกันมา ตั้งแต่คนรุ่นก่อน ๆ มีชาวเขมรนำปลามาจากประเทศเขมร มาขายที่จังหวัดนครราชสีมา แล้วได้พักอยู่บริเวณนี้ และชาวเขมรเรียกบริเวณนี้ว่า “พะเน้า” เหตุที่เรียกว่า พะเน้า เพราะชาวเขมรขายปลาไม่หมด จึงเหลือปลากลับมาทำให้ปลาเน่าส่งกลิ่นเหม็น เลยเรียกแผลงว่า “พะเน้า” เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2300 หรือประมาณ 200 กว่าปีมาแล้ว คนกลุ่มแรก ที่เข้ามาก่อตั้งหมู่บ้าน สันนิษฐานว่าเป็นชาวเขมร สภาพหมู่บ้านในขณะนั้นเป็นป่ารกร้าง มีบ้านเรือนตั้งอยู่ประมาณ 10-20 หลังคาเรือน และต่อมามีชาวไทยอพยพมาอยู่รวมกัน และได้ตั้งเป็นหมู่บ้าน โดยเรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านพะเนา” มาจนทุกวันนี้ ซึ่งบ้านพะเนา เป็นบ้าน หมู่ที่ 5 ของ ตำบล พะเนา อ. เมือง จ. นครราชสีมา บ้านมะเริงใหญ่ หมู่ที่ 7 ในอดีตมีการเล่าขานสืบกันมาสมัยปู่ย่าตายาย ว่าตัวหมู่บ้านตั้งติดต่อกันไปทางทิศตะวันออกของตัวเมืองนครราชสีมา เป็นเส้นทางผ่านทางการค้าขายโดยมีล้อ-เกวียน เป็นพาหนะขนถ่ายสินค้าจากเรือกลไฟ ซึ่งแล่นมาตามแม่น้ำมูลขึ้นฝั่งที่บ้านท่าช้าง นำสินค้าต่าง ๆ จากต่างจังหวัดผ่านเข้าเมืองนครราชสีมา ส่งต่อไปยังกรุงเทพฯ สินค้าได้แก่ พวกไม้หอม ไม้จันทน์ หนังวัตถุงาช้าง-ครั่ง ชัน ผ้าไหม เป็นต้น โดยบรรทุกล้อเกวียนผ่านหมู่บ้านมะเริงใหญ่ เข้าเมืองนครราชสีมา ยังมีหลักฐานบางอย่างพอเล่าสู่กันฟังได้อีก คือในต้นฤดูฝนของทุกปีจะเห็นนายฮ้อย พ่อค้าควายไล่ต้อนฝูงควายจำนวนมากในแต่ละครั้ง เพื่อนำไปขายให้ชาวนาภาคกลาง แต่ปัจจุบันนี้จะไม่เห็นอีกแล้ว เพราะการคมนาคมสะดวกและไม่นิยมใช้ควายไถนา ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าหมู่บ้านมะเริงใหญ่เป็นทางผ่านการค้าขายสมัยก่อน ส่วนการตั้งชื่อหมู่บ้านไม่ปรากฏหลักฐานที่มาของชื่อหมู่บ้านแต่อย่างใด การเริ่มก่อตั้งหมู่บ้าน เริ่มประมาณ 200 ปีมาแล้ว ซึ่งคนกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งเป็นหมู่บ้านก็เป็นกลุ่มคนเกี่ยวกับที่ก่อตั้งจังหวัดนครราชสีมา แต่มีการขยายเขตการปกครองและขยายถิ่นที่อยู่ ปัจจุบัน บ้านมะเริงใหญ่ เป็นบ้านหมู่ที่ 7 ตำบลพะเนา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
2.ด้านการเมือง/การปกครอง

มีหมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา ทั้งหมด 9 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านมะเริงน้อย ผู้ปกครอง นายฉัตรชัย ภู่เกิดชายทะเล ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านพุดซา ผู้ปกครอง นายสุริยา ศรีละวัฒน์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านหนองสายไพร ผู้ปกครอง นายกิตติคุณ เกิดชื่น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านคอนอินทร์ ผู้ปกครอง นายร่วม งามอภัย ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านพะเนา ผู้ปกครอง นายเชาวลิต คำทองพะเนา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านพะเนา ผู้ปกครอง นายเสนอ สนมะเริง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านมะเริงใหญ่ ผู้ปกครอง นายชาตรี เกียรติธนบดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8 บ้านยองแยง ผู้ปกครอง นายยงยุทธ ละม่อมเมือง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านใหม่ยองแยง ผู้ปกครอง นายสมัคร ศรีชุ่ม กำนันตำบลพะเนา
สนามกีฬาโรงเรียนบ้านพะเนา

รอปรับปรุง
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา

รอปรับปรุง
หมู่ที่ 9 บ้านใหม่ยองแยง

รอปรับปรุง

× องค์การบริหารส่วนตำบลพะเนา